Tel. 034-854888
Home
Products
Contact Us
Acetic Acid
ANTIOXIDANT 1010
Ascorbic Acid
Barium Stearate
Barium Sulphate
Blowing agent
Boric acid
Calcium Carbonate
Calcium Hydroxide
Calcium Hypochlorite
Calcium Lignosulphonate
Calcium Oxide
Calcium Stearate
Caprolactam
Carbon Black
Carbon Black Paste
Chlorinated Polyethylene
DBP
DEG
DINP
DOP
Ethylene Glycol
Ferric Chloride
Formalin
Formic Acid
Glycerine
Glyceryl Monostearate
Glycolic acid
Heat Stabilizer
Hydrazine
Hydrochloric acid
Hydrogen Peroxide
Isopropyl Alcohol
Limestone powder
Methyl Alcohol
Methylene Chloride
Moisture absorber
Nitric acid
NP-9
OB1 masterbatch
OBSH BLOWING AGANT
Oxalic acid
Oxidized polyethylene wax
PE wax
Phosphoric Acid
Pigment paste
Plasticizer
Polyacetal
Polyether Glycol
Polymer Anion
Polyvinyl Alcohol
Polyvinyl Chloride Resin
Processing aid
Propylene Glycol
Purging agent
Soda Ash
Sodium Bicarbonate
Sodium Carbonate
Sodium Hydroxide
Sodium Tripolyphosphate
Stearic acid
Sulphamic acid
Talcum
Tartaric acid
Titanium Dioxide
Titanium Dioxide Paste
Tribasic Leadsulphate
Trichloroethylene
Trisodium Phosphate
Zinc Oxide
Zinc Stearate
Citric acid
C6H8O7
CAS No.25213-24-5
PVA
POVAL
Na2SiO3
TRONOX CR834
Waterglass
Sodium Silicate
Sodium Metasilicate
Methylenedianiline
2-Hydroxyethylamine
Sodium Siligate
DDM
เมทิลีนไดอะนิลีน
MEA
เอทาโนลามีน
Carbon Black N660
Urea46
คาร์บอนแบล็ก N660
คาร์บอนแบล็ค N660
carbonyldiamine
diaminomethanone
เอ็นเอ็มพี
เอ็น-เมทิล-2-ไพโรลีโดน
เอ็น-เมทธิล-2-ไพโรลีโดน
เมธิลไพโรลิโดน
เมธิลไพร์โรลิโดน
เมทิลไพโรลิโดน
เมทิลไพร์โรลิโดน
เมทธิลไพโรลิโดน
เมทธิลไพร์โรลิโดน
นอร์มอลเมธิลไพโรริโดน
นอร์มอลเมทิลไพโรริโดน
นอร์มอลเมทธิลไพโรริโดน
NMP
N-Methyl-2-pyrrolidone
Methylpyrrolidone
C5H9NO , CAS number 872-50-4
หินเกล็ดคัดขนาด
BLR 699
SACTLEBEN RD3
Phosphoric acid
โพรไพลีนไกลคอล
Citric acid anhydrous
Malic acid
Xanthan Gum
Blancfixe
Precipitated Barium Sulfate
Ground Barium Sulfate
Synthetic Barium Sulfate
Precipitated Barium Sulphate
Ground Barium Sulphate
Synthetic Barium Sulphate
Baryte 350
Baryte 400 mesh
Baryte 800 mesh
Precipitated Baryte
Ground Baryte
Synthetic Baryte
Precipitated Barite
Ground Barite
Synthetic Barite
Xanthan Gum Europe
Xanthan Gum FCC
Xanthan Gum Food Grade
Xanthan Gum Jungbunzlauer
Xanthan Gum Pharmaceutical Grade
Xanthan Gum USP
แซนแทนกัม Jungbunzlauer
แซนแทนกัมเกรดยา
แซนแทนกัมเกรดอาหาร
แซนแทนกัมยุโรป
Calcium Hydroxide FCC
Calcium Hydroxide food grade
Calcium Hydroxide Pharma grade
Calcium Hydroxide Pharmaceutical Grade
Calcium Hydroxide USP grade
CaOH2 FCC
CaOH2 food grade
CaOH2 Pharma grade
CaOH2 Pharmaceutical Grade
CaOH2 USP grade
Hydrated Lime FCC
Hydrated Lime food grade
Hydrated Lime Pharma grade
Hydrated Lime Pharmaceutical Grade
Hydrated Lime USP grade
SCHAEFER Hydrated lime
SCHAEFER PRECAL
แคลเซียมคาร์บอเนตฟู้ดเกรด
แคลเซียมคาร์บอเนตฟูดส์เกรด
แคลเซียมฟู้ดเกรด
แคลเซียมฟูดส์เกรด
แคลเซียมไฮดรอกไซด์เกรดยา
แคลเซียมไฮดรอกไซด์เกรดอาหาร
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ฟู้ดเกรด
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ฟูดส์เกรด
ปูนขาว Food grade
ปูนขาว Pharmaceutical Grade
ปูนขาว PRECAL
ปูนขาว SCHAEFER
ปูนขาวเกรดยา
ปูนขาวเกรดอาหาร
ปูนขาวฟู้ดเกรด
ปูนขาวฟูดส์เกรด
ไฮเดรตไลม์เกรดยา
ไฮเดรตไลม์เกรดอาหาร
ไฮเดรตไลม์ฟู้ดเกรด
ไฮเดรตไลม์ฟูดส์เกรด
HEDP, เอชอีดีพี, Hydroxy ethylidene diphosphonic acid
Magnesium Stearate
พาราฟินแวกซ์ฟูลลี่รีไฟน์ , Paraffin Wax Fully Refined
แมกนีเซียมสเตียเรต
แมกนีเซียมสเตียเรท
Ammonium Chloride
Borax
Butyl CARBITOL
Butyl CELLOSOLVE
DEGME
Diethylene Glycol Monomethyl
EGBE
Ether
Ethylene Glycol Monobutyl Ether
NaCl
Sodium Chloride
กรดบอริค
เกลือกลาง
เกลือแก้ว
เกลือขาว
เกลือดำ
เกลือทะเล
เกลือเม็ด
เกลือสมุทร
โซเดียมคลอไรด์
ดีอีจีเอ็มอี
ไดเอทิลีนไกลคอลโมโนเมทิลอีเทอร์
บอริคแอซิด
บอแรกซ์
บิวทิลคาร์บิทอล
บิวทิลเซลโลโซล์ฟ
อีจีบีอี
เอทิลีนไกลคอลโมโนบิวทิลอีเทอร์
แอมโมเนียมคลอไรด์
HIMATEX,SNOBRITE,HIMAFIL,HIMAFINE
POLYGLYCOL P425,POLYGLYCOL P-425,CAS No. 25322-69-4
Polypropylene glycols,PPGs,Polypropylene Oxide
เกาลิน,เคโอลิน,Kaolin
เกาลินเคลย์,Kaolin clay
แคลไซน์เกาลิน,Calcine Kaolin
แคลไซน์เคลย์,Calcine Clay
ไชน่าเคลย์,China Clay
พีพีจี,PPG,โพลีโพรพิลีนไกลคอล
โพลีไกลคอล,Polyglycol,PPG425
โพลีโพรไพลีนไกลคอล,Polypropylene glycol
โพลีโพรไพลีนออกไซด์,โพลีโพรพิลีนออกไซ&#
อลูมิเนียมซิลิเกต,Aluminium Silicate
ไฮดรัสเคลย์,Hydrous Clay
ไฮดรัสอลูมิเนียมซิลิเกต,Hydrous Aluminium Silicate
4K Mica, ไมก้า4K
Alumina Silicate
KMPM Kaolin, เคเอ็มพีเอ็มเกาลิน
Mica
Muscovite Mica
Potassium Aluminium Silicate
Sericite, CAS No. 12001262
โพแทสเซียมอลูมิเนียมซิลิเกต
ไมก้า
อลูมินาซิลิเกต
Acetic acid ethyl ester
Acetic Ester, อะซีติกเอสเทอร์
C4H8O2, CAS No. 141786
Ethyl Acetate
Ethyl Ethanoate, เอทิลเอทาโนเอต
อะซีติกแอซิดเอทธิลเอสเตอร์
เอตทิลอะซิเตต
เอทธิลอะซีเตต
เอทธิลอะซีเตท
เอทธิลอะซีเทต
เอทิลอะซิเตท
เอทิลอะซีเตต
เอธิลอะซีเตต
Aliphatic Hydrocarbon Resin
C5 Resin, เรซิ่น C5, CAS No. 220543679
Hydrocarbon Resin
Petroleum Resin
Piperlene Resin, Piperylene Resin
Quintone Resin
Thermoplastic Resin
เทอร์โมพลาสติกเรซิ่น
ปิโตรเลียมเรซิ่น
ไฮโดรคาร์บอนเรซิ่น
ไดเอทิลีนไกลคอลโมโนบิวทิลอีเทอร์
ไดเมทิลฟอร์มาไมด์
พลาสติไซเซอร์ปลอดสารพทาเลต
เอทิลีนไวนิลอะซีเตต
โพลีเอทิลีนไกลคอล 4000
Calcium Nitrate
Cyclohexanone
Diacetone Alcohol
Butyl Diglycol
Butyl Acetate
Methyl Ethyl Ketone
Methyl Isobutyl Ketone
Magnesium Oxide
Acetone
EVA
Boraxpentahydrate, Boraxdecahydrate
Neobor Borax
PERC
Perchloroethylene
Tetrachloroethylene
Base oil
Deep Chrome Yellow
Nonylphenolethoxylate
Chlorine Solution
Sodium Hypochlorite
โนนิลฟีนอลอีทอกซีเลท
Magnesium Chloride
Glass Bead
Yellow pigment
Hydrogentperoxide
TPCC AEC
 

Calcium Hydroxide

Calcium Hydroxide, Hydrated Lime, Ca(OH)2, แคลเซียมไฮดรอกไซด์, ไฮเดรตไลม์, ปูนขาว, ปูนไลม์

ปูนขาว (Hydrated lime: Ca(OH)2) และปูนไลม์ไฮดรอลิก ซึ่งอยู่ในรูปลักษณะต่างๆ กันทั้งทางเคมีและกายภาพ ส่วนหินปูน (Limestone) หมายถึง หินชั้น หรือหินตะกอน ที่ประกอบด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เป็นส่วนใหญ่ เมื่อนาหินปูนมาเผาจะได้ ปูนสุกที่มีขนาดต่างๆ ขึ้นกับชนิดหินปูน เตาเผาที่ใช้ และวิธีปฏิบัติต่อจากการเผา เมื่อนาปูนสุกมาทา ปฏิกิริยากับน้าจะได้ คัลเซียมไฮดรอกไซด์ ส่วนที่เป็นผงแห้งก็คือปูนขาว และส่วนที่เป็นสารแขวนลอยก็คือ0น้าปูนไลม์(Milkoflime) ปูนไลม์สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ในหลายด้านเช่นด้านการเกษตรปูนไลม์ช่วยปรับค่าความเป็นกรด-ด่างในดินทาให้แบคทีเรียบางชนิดในดินเปลี่ยนไนโตรเจนให้อยู่ในรูปที่พืชสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ และช่วยยับยั้งจุลินทรีย์ที่ให้โทษซึ่งชอบเจริญในดินกรดรวมทั้งช่วยปรับโครงสร้างดินให้ร่วน ไถพรวนได้ง่ายขึ้น มาตรฐานปูนไลม์ที่ใช้ในการเกษตรคือ มอก.223-2520เรื่องวัสดุพวกปูนไลม์เพื่อการ เกษตร ด้านการบาบัดน้า ช่วยแก้น้ากระด้าง โดยปูนไลม์เข้าไปทาปฏิกิริยากับสารเคมีที่เป็นสาเหตุให้เกิดน้ากระด้างกลายเป็นสารที่ไม่ละลายน้าตกตะกอนออกมาตามสมการดังนี้กรณีน้ากระด้างชั่วคราวที่เกิด จากไบคาร์บอเนตของแคลเซียมและแมกนีเซียม

Ca(HCO3)2+Ca(OH)2=2CaCO3ตกตะกอน+2H2O Mg(HCO3)2+2Ca(OH)2=Mg(OH)2ตกตะกอน+2CaCO3ตกตะกอน+2H2O กรณีน้ากระด้างถาวรที่เกิดจากสารประกอบคลอไรด์สารประกอบซัลเฟตและสารประกอบไนเตรตของ แคลเซียมและแมกนีเซียม MgCl2+Ca(OH)2=2Mg(OH)2ตกตะกอน+CaCl2 CaCl2+Na2CO3(Sodaash)=CaCO3ตกตะกอน+2NaCl อุตสาหกรรมก่อสร้าง(BuildingandConstruction)หินปูนและปูนไลม์นาไปใช้ในการก่อสร้างโดยตรงเช่น การสร้างถนน0ใช้เป็นสารตัวเติมในยางแอสฟัลต์สาหรับราดถนน0ใช้ผสมทรายทาปูนฉาบปูน สอสาหรับงานก่อใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์มีมาตรฐานกาหนดคุณสมบัติของปูนไลม์ที่ใช้อยู่หลายมาตรฐานทั้งในและต่างประเทศเช่น มอก.241-2520ปูนไลม์เพื่อการก่อสร้างBritishStandard890-1972เรื่อง0SpecificationforBuildingLimes อุตสาหกรรมกระดาษ ปูนไลม์ใช้ในการผลิตสารที่ใช้ในการผลิต เช่น ใช้ผลิต Sodium hydroxide (โชดาไฟ) ที่ใช้ในกระบวนการย่อย ใช้ผลิตสารฟอกขาว (Bleaching liquor) โดยเติมคลอรีนผสมกับน้าปูน ไลม์ ใช้ผลิต Satin White โดยผสม Aluminium sulfate กับน้าปูนไลม์ และใช้ผลิต Precipitated chalk หรือ Precipitated calcium carbonate (PPC) ที่ใช้เคลือบกระดาษ โดยการเติมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เข้าไปในน้าปูนไลม์

อุตสาหกรรมเคมีปูนไลม์ถูกใช้ในกระบวนการผลิตสารเคมีหลายชนิดเช่นโซดาไฟ(Sodiumhydroxide) จากLime-sodaprocessโดยปูนไลม์ทาปฏิกิริยากับโซดาแอช(Sodiumcarbonate)ได้โซดาไฟและแคลเซียมคาร์บอเนตชนิดตกตะกอนแคลเซียมคาร์ไบด์ได้จากการผสมปูนขาวกับถ่านโค๊กแล้วให้ความร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 2000oC การทาให้กรดซิตริกบริสุทธิ์ขึ้น โดยเติมปูนขาวในสารละลายกรด

ซิตริกที่กรองแล้ว ทาให้ Calcium citrate ตกตะกอนออกมา นาตะกอนนั้นไปทาปฏิกิริยากับ Sulfuric acid อีกทีหนึ่ง ผลิตโซดาแอช (Sodium carbonate) ซึ่งเป็นสารที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตแก้ว สบู่ สิ่งทอ และ สารเคมี โดย Solvay or Ammonia-soda process อุตสาหกรรมอาหาร ยา เครื่องสาอาง ปูนไลม์เข้าไปมีบทบาททั้งทางตรงและทางอ้อม ใช้ปูน ขาวดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ผักและผลไม้สดปล่อยออกมา เพื่อยืดอายุการเก็บ การผลิตน้าตาล เติม น้าปูนไลม์ลงในน้าเชื่อม เพื่อสะเทินกรด ทาให้สิ่งเจือปนที่ละลายในน้าเชื่อมตกตะกอน ใช้ผลิตสารที่ใช้เติม ในผลิตภัณฑ์ เช่น Calcium phosphate ที่เป็น food additive Calcium lactate, Calcium mandelate ที่ใช้ ผลิตยา ปูนไลม์ที่ใช้ต้องมีความบริสุทธิ์สูง ตามมาตรฐานที่กาหนดเช่น British Pharmacopoeia อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า ต้องใช้ปูนไลม์ที่มีความบริสุทธิ์สูง เป็นตัวช่วยดึงสารเจือปน ต่างๆ เพื่อผลิตเหล็กคุณภาพสูง นอกจากนี้ยังมีอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ปูนไลม์เข้าไปเกี่ยวข้องเช่น ปูนไลม์เป็น สาร intermediates ในการผลิตสีย้อม เป็นสารตัวเติมในอุตสาหกรรมยาง เซรามิกส์ เป็นต้น

ปูนขาวฟาร์ม หรือ แคลเซียมไฮดรอกไซด์”  [Ca (OH2)]  ได้จากการนำหินปูนคาร์บอเนต

ที่มีองค์ประกอบของคาร์บอเนตเป็นหลักมาเผาที่อุณหภูมิสูง แล้วสเปร์น้ำ ปูนจะแตกตัวออกมาทำให้ได้ผงละเอียดมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นและทำปฏิกิริยากับน้ำได้ดีตามสมการ

 

CaO + MgO + 2H2O                                          Ca (OH)2 + Mg (OH)2

  ปูน + น้ำ                                    ปูนไฮดรอกไซด์

 

                คุณสมบัติของปูนกลุ่มไฮดรอกไซด์

 

•              จะทำให้ค่าพีเอชเพิ่มขึ้นรวดเร็วกว่าพวกคาร์บอเนต แต่น้อยกว่าพวกออกไซด์และปูน

ไฮเดรต อาจมีผลกระทบต่อสัตว์น้ำได้จึงต้องระมัดระวังในการใช้ โดยเฉพาะเมื่อมีสัตว์น้ำอยู่ในบ่อ

•              มีผลต่อคาร์บอเนตอัลคาไลนิตี้น้อยมาก

•              เมื่อสัมผัสกับน้ำจะเกิดความร้อน ทำให้อุณหภูมิของน้ำเพิ่มขึ้น

•              เมื่อสัมผัสกับน้ำ จะมีฤทธิ์กัดผิวหนัง จะต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง ควรสวมถุงมือ เมื่อใช้ปูนกลุ่มนี้

•              เมื่อได้รับความชื้นแล้วจะไม่จับตัวเป็นก้อน เนื่องจากผ่านกระบวนการให้ความร้อนสูง ซึ่งเป็นการทำลายโครงสร้างให้มีขนาดอนุภาคเล็กแล้ว

•              ควบคุมสีน้ำ ใช้ประจำระหว่างเลี้ยงจะช่วยในการควบคุมกลุ่มแพลงค์ตอนไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

 

อัตราการใช้

 

•              เตรียมบ่อในสภาพดินที่เป็นกรด                                                          1,000-1,500 กก./ไร่

•              ปรับ pH น้ำที่ต่ำ                                                                       200-300    กก./ไร่

•              เร่งการลอกคราบ                                                                                     200-300    กก./ไร่

•              ควบคุมสีน้ำและคุณภาพน้ำทุก 2-3 วัน/ครั้ง                           50-100    กก./ไร่

 

ปูนขาว (Hydrated lime) Ca(OH)2

เป็นการนำปูนก้อนมาบดย่อยเข้ากระบวนการไฮเดรต โดยผสมกับน้ำ ทำปฏิกิริยาจนได้แคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่สมบูรณ์ ผ่านกระบวนการคัดความละเอียดพิเศษ และ โดยมีการควบคุมกระบวนการผลิตด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยทุกขั้นตอน

ผลิตภัณฑ์ปูนสุกและปูนไฮเดรตมีการใช้งานในอุตสาหกรรมที่หลากหลายตามคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ปูนที่ได้คุณภาพ ตัวอย่าง อาทิเช่น

ด้านอุตสาหกรรมน้ำตาล :

ในการผลิตน้ำตาลทรายจะใช้ปูนไลม์ในขั้นตอนการทำความสะอาดหรือ

ทำใสน้ำอ้อย(Juice Purification) เพื่อแยกเอาสิ่งสกปรกต่างๆออก

ด้านอุตสาหกรรมเหล็ก :

ต้องใช้ปูนไลม์ที่มีความบริสุทธิ์สูง เป็นตัวช่วยดึงสารเจือปนต่างๆ

ในกระบวนการถลุงเหล็กเพื่อผลิตเหล็กคุณภาพสูง

ด้านอุตสาหกรรมกระดาษ :

ปูนไลม์ใช้ในการผลิตสารที่ใช้ในการผลิต เช่น ใช้ผลิต Sodium hydroxide(โชดาไฟ) ที่ใช้ในกระบวนการย่อย ใช้ผลิตสารฟอกขาว (Bleaching liquor) โดยเติมคลอรีนผสมกับน้ำปูนไลม์ ใช้ผลิต Satin White โดยผสม Aluminium sulfate กับน้ำปูนไลม์ และใช้ผลิต Precipitated chalkหรือ Precipitated calcium carbonate (PPC) ที่ใช้เคลือบกระดาษ โดยการเติมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปในน้ำปูนไลม์

ด้านการบำบัดน้ำ :

ช่วยแก้น้ำกระด้าง โดยปูนไลม์จะเข้าไปทำปฏิกิริยากับสารเคมีที่เป็นสาเหตุให้เกิดน้ำกระด้าง กลายเป็นสารที่ไม่ละลายน้ำตกตะกอนออกมา

ด้านอุตสาหกรรมเคมี :

ปูนไลม์ถูกใช้ในกระบวนการผลิตสารเคมีหลายชนิด เช่น โซดาไฟ (Sodiumhydroxide) จาก Lime-soda process โดยปูนไลม์ทำปฏิกิริยากับโซดาแอช (Sodium carbonate) เป็นต้น

ด้านอุตสาหกรรมเกษตร :

- ช่วยปรับสภาพความเป็นกรด-ด่างในดิน

- ทำให้แบคทีเรียบางชนิดในดินเปลี่ยนไนโตรเจนให้อยู่ในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

- ช่วยยับยั้งจุลินทรีย์ที่ให้โทษซึ่งชอบเจริญเติบโตในดินกรด

- ช่วยปรับโครงสร้างดินให้ร่วนไถพรวนง่ายขึ้น

Calcium hydroxide, traditionally called slaked lime, is an inorganic compound with the chemical formula Ca(OH)2. It is a colorless crystal or white powder and is obtained when calcium oxide (called lime or quicklime) is mixed, or "slaked" with water. It has many names including hydrated lime, builders' lime, slack lime, Choona (word used in India, Pakistan and Afghanistan), cal, or pickling lime. Calcium hydroxide is used in many applications, including food preparation. Limewater is the common name for a saturated solution of calcium hydroxide.

When heated to 512 °C, the partial pressure of water in equilibrium with calcium hydroxide reaches 101 kPa, which decomposes calcium hydroxide into calcium oxide and water.

 Ca(OH)2 CaO + H2O

A suspension of fine calcium hydroxide particles in water is called milk of lime. The solution is called limewater and is a medium strength base that reacts with acids and attacks many metals. Limewater turns milky in the presence of carbon dioxide due to formation of calcium carbonate, a process called carbonatation:

 Ca(OH)2 + CO2 CaCO3 + H2O

One significant application of calcium hydroxide is as a flocculant, in water and sewage treatment. It forms a fluffy charged solid that aids in the removal of smaller particles from water, resulting in a clearer product. This application is enabled by the low cost and low toxicity of calcium hydroxide. It is also used in fresh water treatment for raising the pH of the water so pipes will not corrode where the base water is acidic because it is self-regulating and does not raise the pH too much.

Another large application is in the paper industry, where it is used in the production of sodium hydroxide. This conversion is a component of the Kraft process.

Niche uses

Because it is produced on a large scale, is easily handled, and is cheap, myriad niche and even large-scale applications have been described. A partial listing follows:

 In life support systems as a carbon dioxide scrubber, particularly in closed-circuit diving re-breathers such as the US Navy LAR V or MK-16, where the more caustic lithium hydroxide is deemed too risky due to inhaled dust, combat handling, or generation of caustic "slurry" in flooding events

 An ingredient in whitewash, mortar, and plaster

 In road construction, to improve the quality of excessively plastic subgrade soils

 To fill the root canal for the first stage of endodontic therapy (it is then replaced by rubber)

 As an additive to sea water to reduce atmospheric CO2 and mitigate the greenhouse effect

 In the production of metals, lime is injected into the waste gas stream to neutralize acids, such as fluorides and chlorides prior to being released to atmosphere.

 An alkali used as a lye substitute in no-lye hair relaxers

 A chemical depilatory agent found in most hair removal creams (for example Nair)

 In Bordeaux mixture to neutralize the solution and form a long-lasting fungicide

 In lime-sulfur, it is mixed with sulfur and boiled in water for an hour. The ratio by weight of Ca(OH)2:S:water is about 1:1.7:8.7. Diluted (1:32) lime-sulfur is sprayed as a fungicide and used as a dip to combat sarcoptic mange.

 In the petroleum refining industry for the manufacture of additives to oils (salicatic, sulphatic, fenatic)

 In the chemical industry for manufacture of calcium stearate In the petrochemical industry for manufacturing solid oil of various marks

 In the manufacture of brake pads

 In manufacturing the trademarked compound "Polikar", an antifungal and antimicrobial preservative for vegetables in storage

 For preparation of dry mixes for painting and decorating

 In manufacturing mixes for pesticides

 In the manufacture of ebonite

 As a calcium supplement and pH/carbonate buffer (known as Kalkwasser lit. trans. lime-water) for the aquaculture of corals in reef aquaria.

 As a natural "alternative" insecticide, most crawling insects are killed by its touch, including ticks, fleas, beetles and grubs.

Food industry

Because of its low toxicity and the mildness of its basic properties, slaked lime is widely used in the food industry to:

 to clarify raw juice from sugarcane or sugar beets in the sugar industry, (see carbonatation)

 process water for alcoholic beverages and soft drinks

 pickle cucumbers and other foods

 make Chinese century eggs

 make corn tortillas (it helps the corn flour (masa) bind together) (see nixtamalization)

 clear a brine of carbonates of calcium and magnesium in the manufacture of salt for food and pharmaceutical uses

 fortify (Ca supplement) fruit drinks, such as orange juice, and infant formula

 aid digestion (used in India as paan, a mixture of areca nuts, calcium hydroxide and a variety of seeds wrapped in betel leaves)

 substitute for baking soda in making papadam.

In Spanish, calcium hydroxide is called cal. Corn cooked with cal (nixtamalization) becomes hominy (nixtamal), which significantly increases the bioavailability of niacin, and it is also considered tastier and easier to digest.

In chewing areca nut or coca leaves, calcium hydroxide is usually chewed alongside to keep the alkaloid stimulants chemically available for absorption by the body. Similarly, Native Americans traditionally chewed tobacco leaves with calcium hydroxide derived from burnt shells to enhance the effects. It has also been used by some indigenous American tribes as an ingredient in yopo, a psychedelic snuff prepared from the beans of some Anadenanthera species.

Afghan uses

It is used in making naswar (also known as nass or niswar), a type of dipping tobacco made from fresh tobacco leaves, calcium hydroxide (chuna), and wood ash. It is consumed most in the Pathan diaspora, Afghanistan, Pakistan, India and also in Sweden, Norway. Villagers also use calcium hydroxide as a paint on to their mud houses in Afghanistan and Pakistan.

Ancient Celtic use

According to Diodorus Siculus:

"The Gauls are tall of body with rippling muscles and white of skin and their hair is blond, and not only naturally so for they also make it their practice by artificial means to increase the distinguishing colour which nature has given it. For they are always washing their hair in limewater and they pull it back from the forehead to the nape of the neck, with the result that their appearance is like that of Satyrs and Pans since the treatment of their hair makes it so heavy and coarse that it differs in no respect from the mane of horses

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายขาย

Thai Poly Chemicals Co., Ltd.

บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด

ที่อยู่36/5 ม.9  แขวง/ตำบลนาดี  เขต/อำเภอเมืองสมุทรสาคร  จังหวัดสมุทรสาคร รหัสไปรษณีย์74000

Tel.: 034854888, 034496284

Fax.: 034854899, 034496285

Mobile: 0824504888, 0800160016

Website : www.thaipolychemicals.com

Email1 : thaipolychemicals@hotmail.com

Email2 : info@thaipolychemicals.com

 

 


This website was created for free with Own-Free-Website.com. Would you also like to have your own website?
Sign up for free